The real drive to understand the self, though, comes not from the need to develop treatments, but from a more deep-seated urge that we all share: the desire to understand ourselves. Once self-awareness emerged through evolution, it was inevitable that an organism would ask, ― Who am I? Across vast stretches of inhospitable space and immeasurable time, there suddenly emerged a person called Me or I. Where does this person come from? Why here? Why now? You, who are made of star-dust, are now standing on a cliff, gazing at the starlit sky pondering your own origins and your place in the cosmos.
พลังที่แท้จริงที่ทำให้พวกเราต้องการรู้จักตัวเอง,ความคิด, ไม่ได้มาจากความจำเป็นในการพัฒนาวิธีรักษาโรค, แต่มาจากความต้องลึกลงไปภายในซึ่งพวกเราทุกคนล้วนมี : ความปรารถนาที่จะเข้าใจตัวของพวกเราเอง ซึ่งความรู้สึกว่ามีตัวตนนี้มันเกิดขึ้นมาตลอดวิวัฒนาการ, จนมันหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่สิ่งมีชีวิตนี้จะตั้งคำถามว่า, ―ฉันเป็นใคร ? ท่ามกลางจักรวาลที่เวิ้งว้างและเวลาอนันต์, อยู่ๆ มันก็เกิดคนๆ หนึ่งขึ้นมาแล้วเรียกตัวเองว่า “เรา” หรือ “ฉัน”. คนๆ นี้มาจากไหน ? มาอยู่ตรงนี้ทำไม ? ทำไมต้องเป็นเวลานี้ ? คุณนะถูกสร้างมาจากฝุ่นของดวงดาว, และตอนนี้ก็กำลังยืนอยู่ริมหน้าผา, จ้องมองไปที่ท้องฟ้าที่ดาวระยิบ แล้วกำลังงงงวยกับต้นกำเนิดของตัวเองและหาที่ยืนของตัวเองในจักรวาล
V.S. Ramachandran, The Tell-Tale Brain